วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการเปิดแอร์ให้ประหยัดค่าไฟ กับบทความ เหตุผลที่ควรเปิดแอร์ พร้อมพัดลมทุกวัน ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง เพื่อให้เรานั้น มีเงินเหลือเก็บ และพอใช้ถึงสิ้นเดือนทุกๆ เดือน
โดยปกติแล้ว การเปิดแอร์ หรือเครื่องปรับอากาศนั้น มักเปิดในอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 25 องศา ประมาณ 26-28 องศาได้ยิ่งดี เพราะโดยปกติแล้ว ร่างกายของมนุษย์ จะสามารถรับความเย็นระดับ 27 องศาได้อย่ างสบายตัว ไม่หนาว ไม่ร้อนจนเกินไป แต่หากรู้สึกร้อน อาจปรับมาสัก 26 องศา และหากรู้สึกเย็น สามารถปรับขึ้นได้ ยิ่งปรับขึ้นยิ่งประหยัด แต่ไม่จำเป็นต้องปรับขึ้นจนรู้สึกร้อน เพราะจะเป็นการ
เทคนิคดีๆ ที่เรียกได้ว่าช่วงนี้หล า ยบ้านคงจะกำลังประสบปัญหา บิลค่าไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นกว่าทุกเดือน ซึ่งถึงแม้จะเข้าหน้าฝนแล้วแต่ขึ้นชื่อว่าประเทศไทย ที่ถึงฝนจะตกอากาศก็ยังร้อนอบอ้าวและทำให้หล า ยท่านต้องเปิดแอร์เปิดพัดลมกัน มากขึ้นเช่นเคย ส่ งผลไปยังหน่วยค่าไฟที่ใช้มากขึ้นต ามไปด้วย
ซึ่งก่อนหน้านี้นั้น ทางการไฟฟ้านครหลวง ( MEA ) ได้มีการออ กมาแนะนำวิธีใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ายังไงให้ประหยัด โดยการให้เปิดแอร์พร้อมพัดลมจะประหยัดค่าไฟได้มากกว่า แต่ฟังดูแล้วหล า ยท่านก็อาจจะยังสงสัย ว่าหากเปิดทั้งแอร์และพัดลมจะประหยัดจริงๆเหรอ ซึ่งทางการไฟฟ้านครหลวงก็ยืนยันว่าจริง แต่จะประหยัดไฟได้มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับระบบควบคุมและเทคโนโลยีของแอร์ที่ใช้ โดยได้อธิบายไว้ดังนี้
เปิดแอร์ 26 องศา แต่หากต้องการความรู้สึกเย็นสบายเท่ากับ 24 องศา ให้เปิดพัดลมช่วย โดยไม่ต้องลดอุณหภูมิของแอร์
‘การเปิดแอร์พร้อมพัดลม ประหยัดไฟได้มากกว่าการลดอุณหภูมิของแอร์ เพราะพัดลมช่วยเพิ่มความเร็วลม เพิ่มการเคลื่อนที่ของอากาศ ทำให้เกิดการระบายความร้อนจากร่างกาย ทำให้รู้สึกเย็นสบายขึ้น โดยที่อุณหภูมิห้องยังคงเท่าเดิม’ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2565 เพจ สรยุทธ สุทัศนะจินดา ก ร ร มกรข่าว รายงานว่า
เปิดแอร์ที่อุณหภูมิ 27 องศา พร้อมเปิดพัดลมตั้งพื้นคู่กัน เย็นเหมือนกัน ประหยัดไฟกว่า อาจารย์เจษฎา ยืนยันว่าจริง ครับ … อจ.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิช าชีววิทย า คณะวิทย าศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย าลัย
‘เปิดแอร์ที่อุณหภูมิสูงพร้อมเปิดพัดลม ประหยัดไฟได้มากกว่า เปิดแอร์ที่อุณหภูมิต่ำ’ จริงครับ ! วันนี้มีคำแนะนำจาก กระทรวงพลังงาน ออ กมาหล า ยข้อ เพื่อให้ประช าชนช่วยกันประหยัดพลังงาน .. ซึ่งในข้อหนึ่งที่พูดถึงเครื่องปรับอากาศบอ กไว้ว่า ‘ควรเปิดแอร์ที่อุณหภูมิ 27 องศา พร้อมกับเปิดพัดลมตั้งพื้น ควบคู่กัน ช่วยเพิ่มการเคลื่อนที่ของอากาศในห้อง และช่วยลดอุณหภูมิลงได้ประมาณ 2 องศา โดยจะช่วยให้ประหยัดไฟมากกว่าการเปิดแอร์ที่ 23-24 องศาอย่ างเดียว’
ทำเอาหล า ยคนสงสัยว่า คำแนะนำนี้เป็นเรื่องจริงหรือเปล่า ? และก็ส่ งมาถามผมกัน ก็ต้องบอ กว่า เป็นเรื่องจริงนะครับ ! และผมก็มักจะใช้วิธีนี้ที่บ้านตัวเอง เป็นประจำด้วย หลักการคร่าวๆ คือ การเปิดแอร์ที่อุณหภูมิสูง เช่น ที่ 27 องศาเซลเซียสนั้น แอร์จะกินไฟน้อยกว่าการเปิดเเอร์ที่อุณหภูมิต่ำ เช่น ที่ 23-24 องศา
ที่เป็นเช่นนั้น เพราะส่วนคอยล์ร้อนหรือคอมเพรซเซอร์ของแอร์ จะทำงานน้อยลงเมื่อตั้งอุณหภูมิสูงขึ้น โดยคอมเพรสเซอร์จะทำงานไม่นาน ก็ตัดการทำงานเพราะอุณหภูมิลงไปถึงจุดที่ตั้งไว้แล้ว ( 27 องศาเซลเซียส ) ทำให้แอร์กินไฟน้อยลงด้วย ซึ่งความจริง การที่แอร์ลดภูมิอุณหภูมิห้องลงเหลือ 27 องศาเซลเซียสนั้น ก็เพียงพอที่จะลดความชื้นในห้อง จนทำให้เรารู้สึกสบายขึ้นได้ แล้ว
ขณะที่การเปิดพัดลม เป่ามาที่ตัวเรา จะช่วยให้เรารู้สึกเย็นสบายขึ้นอีก จากกระแสลมที่มาปะทะตัว แล้วทำให้การแลกเปลี่ยนความร้อนออ กจากร่างกายของเรา เกิดได้ดีขึ้น แถมพัดลมตั้งพื้นนั้น กินไฟต่ำกว่าแอร์มากๆๆๆ คือใช้ไฟเพียงแค่ไม่กี่วัตต์เท่านั้น …. จะเปิดพัดลมเบอร์ 2 เบอร์ 3 หรือเปิดพัดลมเพิ่มขึ้นอีก 2-3 ตัว ก็ยังกินไฟน้อยกว่าแอร์อยู่ดี
#สรุปคือ การปรับอุณหภูมิของเครื่องแอร์ จากที่เคยตั้งไว้ 23-24 องศา มาเป็น 27 องศาพร้อมเปิดพัดลมตั้งพื้นเป่าตัว ช่วยให้เราประหยัดพลังงาน ประหยัดค่าไฟได้มากขึ้น และอย่ าลืมว่าให้หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองแอร์ ล้างแอร์เป็นประจำด้วยนะครับ’
เป็นยังไงกันบ้างค่ะ กับทริปประหยัดไฟที่ทางไฟฟ้าออ กมาแนะนำให้พวกเราลองปฎิบัติดู แถม ง า น นี้ยังเป็นการย้ำว่า การเปิดแอร์พร้อมพัดลม ช่วยประหยัดไฟได้จริงจ้า โดยปกติแล้วเราจะเปิดแอร์กันเฉลี่ยวันละ 8 ชั่ วโมง เมื่อใช้ ง า น ผ่านไป 3 – 6 เดือน พัดลมแอร์จะเริ่มมีฝุ่น มาเกาะหนาจนทำให้ลมไม่สามารถออ กมาได้อย่ างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้ทุก 6 เดือนหรือปีละ 2 ครั้งเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการล้างแอร์นั่นเอง
ถ้าต ามมาตรฐานแล้วก็ควรล้างอย่ างน้อยทุก 6 เดือน การล้างแอร์นอ กจากจะทำให้บ้านเย็นฉ่ำแล้ว ยังช่วยทั้งประหยัดค่าไฟอย่ างน้อย 10% ยืดอายุการใช้ ง า น แถมยังช่วยป้องกันเชื้อโ ร คให้กับคนในครอบครัวอีกด้วย
ที่มา การไฟฟ้านครหลวง ( MEA ) และสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจาก google, parinyacheewit